ฝากเงินธนาคารไหนดี และ ฝากที่ไหนปลอดภัยสุด ?

ทุกคนที่มีเงินเก็บ ไม่ว่าจะมากหรือน้อย ก็ย่อมคาดหวังความปลอดภัยสูงสุดของเงินก้อนนั้น การฝากเงินไว้ที่ธนาคารปลอดภัยแค่ไหน หากธนาคารล้มขึ้นมาล่ะ เราจะได้เงินคืนมั้ย ?

มาทำความรู้จัก “สถาบันคุ้มครองเงินฝาก” หรือ DPA ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการ “กองทุนคุ้มครองเงินฝาก” กองทุนที่จะช่วยให้เราสบายใจในการฝากเงินมากขึ้น ไปดูกันว่า “กองทุนคุ้มครองเงินฝาก” ทำงานยังไง คุ้มครองอะไร คุ้มครองเท่าไหร่ แล้วเราควรต้องบริหารจัดการเงินฝากยังไงให้ได้รับความคุ้มครองสูงสุด

broken image

ผลิตภัณฑ์เงินฝากที่ได้รับความคุ้มครอง คือ เงินฝากที่เปิดไว้ที่สถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้กฎหมายคุ้มครองเงินฝาก เป็นเงินสกุลบาทและเป็นบัญชีเงินฝากภายในประเทศ ในปัจจุบันมี 5 ประเภท Nova88 ได้แก่

• เงินฝากกระแสรายวัน

• เงินฝากออมทรัพย์

• เงินฝากประจำ

• บัตรเงินฝาก

• ใบรับฝากเงิน

ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ทางการเงินหรือเงินฝากบางประเภทไม่ได้รับการคุ้มครอง เช่น

• เงินฝากประเภทที่เป็นเงินตราต่างประเทศ

• เงินลงทุนในตราสารต่าง ๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หน่วยลงทุน (SSF, RMF)

• เงินฝากในสหกรณ์

• แคชเชียร์เช็ค ตั๋วแลกเงิน

• เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money)

• ผลิตภัณฑ์ประกันประเภทออมทรัพย์ ที่ออกโดยบริษัทประกัน

• สกุลเงินดิจิทัล (Cryptocurrency)

ส่วน สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร หมายถึง สถาบันการเงินที่จัดตั้งเพื่อดำเนิน ธุรกิจเฉพาะสาขาของธุรกิจ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายของสถาบันการเงินนั้น ๆ เช่น บริษัท เงินทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ เป็นต้น

ธนาคารเป็นสถาบันการเงินระดับสูงของประเทศที่มีอำนาจและหน้าที่ควบคุมและดูแลการเงินและเครดิต ให้มีความเหมาะสมต่อความจำเริญทางเศรษฐกิจ และความมีเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ

แล้ว ธนาคารกลาง หมายถึง ธนาคารใด ?

ธนาคารกลาง ในประเทศส่วนใหญ่มีกำเนิดมาจากธนาคารพาณิชย์ ที่ได้ตั้งขึ้นและได้ช่วยเหลือรัฐบาลของตนทางด้านการเงินและอื่น ๆ

หน้าที่สำคัญของธนาคารกลาง ได้แก่

1. การออกพันธบัตร

2. การเป็นนายธนาคารของรัฐ

3. การเป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์

4. การเป็นผู้ให้กู้ยืมเงินแหล่งสุดท้าย

5. การจัดระบบการหักบัญชีระหว่างธนาคาร

6. การดำเนินนโยบายทางการเงินและการควบคุมปริมาณเงิน

7. การเป็นผู้จัดการทุนสำรองระหว่างประเทศ

ทำอย่างไรถึงได้รับความคุ้มครองเงินฝาก

การคุ้มครองเงินฝากเป็นนโยบายของภาครัฐ เพื่อให้ประชาชนผู้ฝากมั่นใจว่าจะได้รับเงินฝากคืนภายใต้วงเงิน และภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด หากสถาบันการเงินภายใต้ความคุ้มครองถูกเพิกถอนใบอนุญาต

ผู้ฝากที่เป็นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล จะได้รับความคุ้มครองเช่นเดียวกันโดยอัตโนมัติทันทีที่เปิดบัญชีเงินฝากกับสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ซึ่งผู้ฝากไม่ต้องดำเนินการใด ๆ และไม่มีค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้รับความคุ้มครอง โดยวงเงินคุ้มครองจะคุ้มครองในลักษณะ 1 รายชื่อผู้ฝาก ต่อ 1 สถาบันการเงิน โดยนำเงินฝาก (เงินต้นและดอกเบี้ย) ของผู้ฝากแต่ละราย ในทุกสาขาและทุกบัญชีมาคำนวณรวมกัน

ตลาดเงินมีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางและการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย โดยเป็นศูนย์กลางของการทำธุรกรรมเพื่อการกู้ยืมและการลงทุน ซึ่งเงินที่หมุนเวียนในระบบการเงินจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ที่ก่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ตลาดเงินคือ ตลาดสำหรับการกู้ยืมและการลงทุนระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี เพื่อบริหารสภาพคล่องในช่วงสั้นๆ เช่น ธุรกรรมซื้อขายตราสารหนี้ระยะสั้น ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วแลกเงิน ธุรกรรมการกู้ยืมแบบไม่มีหลักประกันระหว่างธนาคารพาณิชย์ (Interbank transaction) ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร (Repurchase Agreement: repo)